ค้นหาบล็อกนี้

วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2554

การเขียนอ้างอิง



วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.  (2554).  วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544.  ค้นหาเมื่อ 22 กันยายน 2554,  จาก  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1_11_%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2544




ความรู้รอบตัว.  (2532).  กรุงเทพฯ:  โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.






นิภาพร  เมืองจันทร์,  ธารารัตน์  พรยิ้ม,  โยธกา  ถานะลุน,  สุธัญญมาศ  บุระมุข,  &  สุภารัตน์  คำแดง.  (ม.ป.ป.).  ระดับสมรรถภาพปอดของตำรวจจราจร จังหวัดอุบลราชธานี.  UBU Journal,  13(1),  68-74.

วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554

แปลเนื้อเพลง Chut Noon Ae By Kang Sung min


หัวใจของฉันสั่นไหวเสมอ
หัวใจของฉันมันเป็นเหตุผลที่อธิบายยาก
ฉันเหมือนตาย
ในแต่ละวัน
ไม่ทราบว่าเมื่อไหร่มันจะสิ้นสุดลง

ทำไมฉันถึงรู้สึกไร้จุดหมาย
ทำไมฉันถึงลังเลที่จะพูด
ไม่ว่าทางข้างหน้า โชคชะตา ชีวิต ความรัก
จะเป็นอย่างไรขอเลือกที่จะไปจากทุกอย่าง

ฉันกลัวขาดคุณไปจากชีวิต
กลัวแค่คุณเดินผ่านมา
โปรดอย่าปฏิเสธหัวใจฉัน
ฉันถูกคุณทำลายตั้งแต่แรก
นี้หัวใจของฉันทำอะไรไม่ถูก
เหมือน เป็นเพียงแค่คนงี่เง่า
ทำให้ฉันร้องไห้

มันเริ่มขึ้นและเริ่มทำไม
หัวใจของฉันทำไมมันทรมานขึ้นและมากขึ้นเรื่อยๆ
น้ำตาไหลออกมาในขณะที่ฉันถอยหายใจ
แต่ก็ไร้ประโยชน์ ในเมื่อเธอต้องการจากลา
คุณเปรียบเหมือนสายลม
ที่ผ่านไปโดยที่ฉันไม่รู้ตัว
โปรดอย่าปฏิเสธหัวใจของฉัน
ฉันถูกคุณทำลายตั้งแต่แรก
หัวใจของฉันรู้สึกสับสน
ทุกสิ่งทุกอย่างถูกเก็บเป็นความทรงจำ
ถ้าหิมะจะเคยหยุดตก
หัวใจของฉันก้สามารถจะเคยสงบลง
จะกระจายเหมือนหิมะลอย
เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
ความทรงจำของฉันกับคุณก็จะล่องลอยวกวน
ฉันจะใช้ชีวิตต่อไปได้หรือไม่
ฉันถูกคุณทำลายตั้งแต่แรก
นี้หัวใจของฉันร้องไห้
เหมือนเป็นเพียงแค่คนงี่เง่า
ทำให้ฉันร้องไห้
เมื่อเวลาผ่านไป
หัวใจของฉันเคยที่จะสงบลง
มันถูกฝังไว้ใต้หิมะลึก
หัวใจของฉันยังคงเผาไหม้ด้วยความปรารถนา
จะอยู่กับฉันไปจนลมหายใจสุดท้าย
มันจะถูกแกะสลักฝังลึกในหัวใจของฉัน.
ความทรงจำของคุณและฉัน

วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

หัวข้อโปรเจ็ก เรื่องนาฬิกา

ในสมัยโบราณมนุษย์ยังไม่มีนาฬิกาใช้ การดำเนินชีวิตขึ้นอยู่กับธรรมชาติ ดวงอาทิตย์จึงเป็นนาฬิกาเรือนแรกที่มนุษย์รู้จัก ประมาณ 3,500 ปีก่อน มนุษย์รู้จักใช้ นาฬิกาแดด ซึ่งนับว่าเป็นนาฬิกาเรือนแรกของโลก โดยสามารถอ่านเวลาได้จากเงาที่ตกทอดลงบนขีดเครื่องหมาย
นาฬิกาแดด(Sundial)เป็นเครื่องบอกเวลาและเครื่องมือวัดเวลา เป็นวิธีธรรมชาติแบบหนึ่งทีมีใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ที่ปรากฎในแต่ละวันเป็นหลัก สมัยโบราณก่อนที่จะเริ่มมีนาฬิกาจักรกลหรือนาฬิกาอิเล็กทรอนิกส์ ไว้ใช้บอกเวลาเช่นในปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากปรากฎการณ์ธรรมชาติ ในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่างๆจากธรรมชาติเพื่อการกำหนดเวลา โดยเฉพาะใช้ดวงอาทิตย์เป็นเครื่องชี้บอกเวลาธรรมชาติที่สำคัญที่สุด เช่นเวลาเช้าดวงอาทิตย์ขึ้น เวลาเที่ยงดวงอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะ เวลาเย็นค่ำดวงอาทิตย์ตกลับจากขอบฟ้าส่วนเวลากลางวัน ในช่วงเวลาอื่นก็อาศัยสังเกตดูจากการทอดเงา... 

ต่อมาชาวกรีกโบราณรู้จักพัฒนา นาฬิกาน้ำ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งกว่านาฬิกาแดด เรียกว่า clepsydra ( คำนี้เป็นคำสนธิที่มีรากศัพท์มาจากคำว่า clep ซึ่งแปลว่า ขโมย และคำ sydra ที่แปลว่า น้ำ ) เพราะนาฬิกานี้ทำงานโดยอาศัยหลักที่ว่า " ภาชนะดินเผาที่มีน้ำบรรจุเต็มเวลาถูกเจาะที่ก้นน้ำจะไหลออกจากภาชนะทีละน้อยๆ เหมือนการขโมยน้ำ " ดังนั้นชาวกรีกโบราณจึงได้กำหนดระยะเวลาที่น้ำไหลออกจนหมดภาชนะว่า 1 clepsydra  แต่นาฬิกาน้ำนี้ต้องมีการเติมน้ำใหม่ทุกครั้งที่หมดเวลา 1 clepsydra และในฤดูหนาวน้ำจะแข็งตัวทำให้ไม่สามารถใช้นาฬิกาได้...
 สำหรับประเทศไทย คนไทยประดิษฐ์เครื่องบอกเวลาใช้เองเมื่อร้อยปีมาแล้ว คือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงมีวลีที่กำชับรับสั่งกับข้าราชบริพารผู้ใกล้ชิด มีความว่า สยามจะอยู่รอด รักษาความเป็นไทไม่เป็นขี้ข้าฝรั่ง จะต้องทำให้คนไทยเชื่อมั่น และต่างชาติเชื่อว่าคนไทยนี้เก่ง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้ากรมอุทกศาสตร์ท่านแรกของสยาม ชื่อ Captain Loftus จัดทำ นาฬิกาแดด ไว้ให้เป็นเครื่องกำหนดหมายบอกเวลา แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานไว้ที่ลานหน้าพระอุโบสถวัดนิเวศน์ธรรมประวัติ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทุกวันนี้นาฬิกาจึงเป็นเครื่องมือบอกเวลาที่คนนิยมใช้กันมาก....